วันพุธที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558
ความรู้ที่ได้รับในคาบเรียน 27/08/2558
ทฤษฎีการจัดการความรู้
วิกส์ (Wiig)
มีกระบวนการจัดการความรู้ 5 ขั้น คือ
- การแบ่งประเภทความรู้
- วิเคราะห์องค์ความรู้
- นำเสนอ
- การประเมินความรู้
กิจกรรมที่เกิดขึ้น
- เผยแพร่
พรอบสท์
(Probst
)รอบ(Raub)และฮาร์ด (Romhardt)
(2000)
ได้เสนอกรอบความคิดในการจัดการความรู้ว่าการจัดการความรู้จะประสบความสําเร็จได้จะต้องมีกระบวนการดังนี้คือ
การกำหนดความรู้ที่ต้องการ (Knowledge identification) การจัดหาความรู้ที่ต้องการ(Knowledge acquisition) การสร้างพัฒนาความรู้ใหม่(Knowledge development) การแบ่งปันและกระจายความรู้ (Knowledge sharing/distribution) การใช้ความรู้ (Knowledge
utilization) และการจัดเก็บความรู้ไปใช้
(Knowledge
storing) โดยกำหนดความสัมพันธ์ของแต่ละกระบวนการในรูปแบบร่างแห
(Mesh)
เทอร์แบน(Turban) และ เฟรนเซล
(Frencel)
มีกระบวนการดังนี้
- สร้างองค์ความรู้ จัดหาความรู้
- จัดเก็บเก็บองค์ความรู้
- นำเสนอองค์ความรู้
- เผยแพร่องค์ความรู้
- นำความรู้ไปใช้
- ประเมินความรู้
โนนากะ (Nonaka) และ ทาเคชิ (Takeuchi) (1995)
ได้เสนอกรอบความคิดการจัดการความรู้
โดยกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ทั้งสองในรูปแบบของวงจร “SECI” เป็นวงจรเปลี่ยนแปลงความรู้ทำให้เกิดความรู้ใหม่ขึ้น
ซึ่งจะหมุนไปเรื่อย ๆ เพราะการเรียนรู้เกิดขึ้นตลอดเวลาวงจร SECI เป็นการสร้างความรู้ใน 4 ลักษณะ คือ Socialization
Externalization Combination และ Internalization
https://www.google.co.th/urlsa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=2&ved=0CCIQFjABahUKEwjwgIfP_9jHAhUGcI4KHYuQDb0&url=http%3A%2F%2Fwww.udru.ac.th%2Fwebsite%2Fattachments%2Felearning%2F10%2F03.pdf&usg=AFQjCNGrpVQYVu397baXRkahAiwwkPQ7Tg&sig2=7wZEKHzVJeTnltVpk93ZUg&bvm=bv.101800829,d.c2E
ไลนอวิซ
(Liebowitz
) และ เบคแมน(Beckman) (1998)
ได้เสนอกรอบความคิดในการจัดการความรู้
ครอบคลุมวงจรความรู้ไว้อย่างละเอียดและครบถ้วนดังนี้
1. Identification : การกำหนดความถนัดเฉพาะการค้นหาความรู้และแหล่งความรู้
2.
Capture : การแสวงหาความรู้ที่ต้องการหรือเหมาะสมและเก็บรวบรวมความรู้
3.
Select : การคัดเลือกหรือการประเมินความรู้ตรงกับความต้องการ
4.
Store : การนําความรู้มาจัดเก็บอย่างเป็นระบบ
5.
Share : การกระจายความรู้หรือการเผยแพร่ความรู้
6.
Apply : การประยุกต์ใช้ความรู้หรือการนําความรู้มาใช้ในการตัดสินใจ
7.
Create : การสร้างความรู้ใหม่
ๆ โดยการวิจัย ทดลอง และการคิดอย่างสร้างสรรค์8. Shell : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลมา จากการใช้ความรู้
โมเดลปลาทู
ประพนธ์
ผาสุขยืด ได้เสนอกรอบความคิดการจัดการความรู้แบบปลาทูเป็นกรอบความคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ของสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
(สคส.) โดยเปรียบการจัดการความรู้เสมือนปลาหนึ่งตัวซึ่งมีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ลําตัว และหางปลา
https://www.google.co.th/urlsa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=2&ved=0CCIQFjABahUKEwjwgIfP_9jHAhUGcI4KHYuQDb0&url=http%3A%2F%2Fwww.udru.ac.th%2Fwebsite%2Fattachments%2Felearning%2F10%2F03.pdf&usg=AFQjCNGrpVQYVu397baXRkahAiwwkPQ7Tg&sig2=7wZEKHzVJeTnltVpk93ZUg&bvm=bv.101800829,d.c2E
ความรู้ที่ได้จากเพื่อนๆ
นำเสนอหน้าชั้นเรียน
1.การพัฒนาความรู้ทั้งระบบ
ปัจจุบันนี้มีครูประมาณ
7 แสนคน
ซึ่งเป็นจำนวนที่ไม่เยอะมากซึ่งมีหน่วยงานเยอะแยะมากมาย เช่น อุดมศึกษา สำนักงานครุสภา
เพื่อพัฒนาไปสู่การควบคุม
- สถาบันพัฒนาครู ทำหน้าที่ดำเนินการครู
บุคลากรทางการศึกษา - สำนักงานขั้นพื้นฐาน
พัฒนาครูตามกำหนด - การสอนวิทยาศาสตร์
เพิ่มสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
- สวัสดิการเพิ่มศักยภาพ
- วิชาการ โครงการพัฒนาครู
2.สภาการศึกษา ชู 4 ข้อเสนอ ทำอย่างไรให้นักเรียนมีคะแนน PISA สูงขึ้น ซึ่งมีสาเหตุหลัก คือ
2.1 นักเรียนไม่รักการอ่าน
2.2 นักเรียนไม่คุ้นเคยกับข้อสอบ
2.3 ขาดทักษะในการเรียน
2.4 คุณภาพของโรงเรียนต่างกัน
3.สภาการศึกษาทะลึกผลงานวิจัยดีเด่น
ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอ
เผยแพร่ การกระตุ้นให้เกิดความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล
มีลักษณะมีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการปฏิรูปการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ
4.บทเรียนสำหรับการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่
9
ทำหน้าที่ศึกษาตามแนวทางการศึกษา
เน้นระบบ กระบวนการ การประกอบอาชีพ การจัดระบบนักศึกษา ฝึกหัดครู สอบไล่
จัดตั้งโรงเรียน จัดตั้งการสอน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ
4.1 ด้านภาวะผู้นำ
4.2 ด้านการตื่นตัวของชั้นนำ
4.3 ความพร้อมของบริบททางสังคม
4.4 การปรับแนวทางปฏิรูปทางการศึกษา
5.ความก้าวหน้าของการประเมินผลด้านการศึกษานานาชาติ
มีการประชุม
5 โครงการมีประเทศไทยเข้าร่วมเพียง 2 โครงการ
5.1 โครงการว่าด้วยการรู้คอมพิวเตอร์และข้อมูลข่าวสาร
5.2 การจัดการแนวโน้มการศึกษา คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์และ TIMESขั้นสูง
5.3 การศึกษาด้านหน้าที่และความเป็นมา
ระบบนานาชาติ
5.4 ความก้าวหน้าการศึกษาด้านทักษะการอำนวยการ
5.5 การศึกษาด้านปฐมวัย มี 2 ระยะ
6.คำถามง่ายๆ ในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
, แท็บเล็ต
6.1 เลือกตามประสิทธิภาพที่ต้องการ
6.2 การใช้งานในการทำงาน
6.3 การเลือกซื้อ
- แท็บเล็ต
- โน้ตบุค
- PC
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558
สิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์ของเพื่อน
จากที่เพื่อนๆออกมานำเสนอประสบการณ์
จากที่เพื่อนๆออกมานำเสนอและเล่าประสบการณ์ทั้งหลาย ส่วนมากก็จะเป็นประสบการณ์ในการทำงานในช่วงปิดเทอมของแต่ละคน ซึ่งแต่ละคนก็ได้ประสบการณ์ที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นการทำงานเซเว่นก็จะเจอกับลูกค้ามากมายแต่ละคนล้วนแล้วแต่มีนิสัยแตกต่างกันไป พนักงานเลยต้องรับหน้าที่หนักไปหน่อยแต่ผลตอบแทนออกมาค่อนข้างดี การทำงานที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เราต้องมีวิธีการรับมือกับเด็กเป็นอย่างดีเพราะเด็กวัยนี้ยังติดพ่อแม่ หรือผู้ปกครองอยู่ อาจจะมีร้องไห้ งอแงเป็นเรื่องธรรมดา แต่เมื่อเขาเริ่มสนิทหรือคุ้นชินกับบุคคลและสถานที่ เขาจะรู้จักพูดคุยและเล่นซนกับเพื่อนซึ่งเราก็ต้องมีวิธีการรับมือกับเรื่องนี้ไปอีกแบบนึง และการทำงานบริษัทประกัน งานนี้ไม่ค่อยมีส่วนเกี่ยวข้องกับสาขาที่เรียนอยู่ จึงต้องมีการทำความเข้าใจ เรียนรู้และศึกษางานด้วยตนเอง เมื่อเข้าใจงานตรงจุดนี้แล้วก็จะสามารถทำได้อย่างสบายๆเลยและค่าตอบแทนก็ออกมาค่อนข้างดี การทำงานทั้งหลายล้วนแล้วแต่ต้องใช้ความพยายาม ความอดทน และการเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
จากที่เพื่อนๆออกมานำเสนอและเล่าประสบการณ์ทั้งหลาย ส่วนมากก็จะเป็นประสบการณ์ในการทำงานในช่วงปิดเทอมของแต่ละคน ซึ่งแต่ละคนก็ได้ประสบการณ์ที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นการทำงานเซเว่นก็จะเจอกับลูกค้ามากมายแต่ละคนล้วนแล้วแต่มีนิสัยแตกต่างกันไป พนักงานเลยต้องรับหน้าที่หนักไปหน่อยแต่ผลตอบแทนออกมาค่อนข้างดี การทำงานที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เราต้องมีวิธีการรับมือกับเด็กเป็นอย่างดีเพราะเด็กวัยนี้ยังติดพ่อแม่ หรือผู้ปกครองอยู่ อาจจะมีร้องไห้ งอแงเป็นเรื่องธรรมดา แต่เมื่อเขาเริ่มสนิทหรือคุ้นชินกับบุคคลและสถานที่ เขาจะรู้จักพูดคุยและเล่นซนกับเพื่อนซึ่งเราก็ต้องมีวิธีการรับมือกับเรื่องนี้ไปอีกแบบนึง และการทำงานบริษัทประกัน งานนี้ไม่ค่อยมีส่วนเกี่ยวข้องกับสาขาที่เรียนอยู่ จึงต้องมีการทำความเข้าใจ เรียนรู้และศึกษางานด้วยตนเอง เมื่อเข้าใจงานตรงจุดนี้แล้วก็จะสามารถทำได้อย่างสบายๆเลยและค่าตอบแทนก็ออกมาค่อนข้างดี การทำงานทั้งหลายล้วนแล้วแต่ต้องใช้ความพยายาม ความอดทน และการเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
ที่มาของภาพ http://edus.nstru.ac.th/edulearning/
วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2558
การจัดการความรู้ทางการศึกษา
ความรู้ (Knowledge) คือ
สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน
จากประสบการณ์ในชีวิตจริง
การที่เราได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
รวมไปถึงสิ่งที่เราได้รับจากการฟัง
การได้ยิน การคิด สิ่งที่ได้จากสื่อหรือวิธีการต่างๆนี้ ก็จะสะสมอยู่ในสมองเรา และเมื่อเรามีความรู้เราก็ต้องมีวิธีที่จะจัดการกับความรู้เหล่านั้น
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นการนำเอาความรู้ที่มีอยู่มาจัดเก็บให้เป็นระบบ
และยังสามารถนำไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้ และนำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ความเป็นมาของการจัดการความรู้
Ikujiro Nonaka เป็นผู้บุกเบิกให้การจัดการความรู้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย และสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญของการจัดการความรู้ โดยการสร้างแบบจำลอง SECI Model ขึ้นมา
(Ikujiro Nonaka)
https://www.gotoknow.org/posts/486214
ประเภทของความรู้
คุณลักษณะของบุคคลนั้นเปรียบเสมือนภูเขาน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในน้ำ
โดยมีส่วนหนึ่งที่ลอยอยู่เหนือน้ำซึ่งเป็นส่วนที่น้อยแต่สามารถมองเห็นและวัดได้ง่าย
และมีอีกส่วนหนึ่งที่จมอยู่ใต้น้ำซึ่งเป็นส่วนที่มีปริมาณมากกว่า
แต่ไม่สามารถมองเห็นหรือวัดได้อย่างชัดเจน
Explicit Knowledge เป็นความรู้ที่มองเห็นได้ชัดเจนหรือเป็นนานมธรรม
ที่เราได้จากที่ต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง ซึ่งอยู่ในรูปแบบของเอกสาร หนังสือคู่มือ
อ้างอิง หรือสื่อต่างๆ
Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่มองเห็นได้ไม่ชัดเจน เป็นความรู้ซึ่งเกิดจากการปลูกฝัง การฝึกฝน การใช้ปฏิภาณไหวพริบ การปฏิบัติจนเกิดความชำนาญ เป็นประสบการณ์หรือความสามารถส่วนบุคคล ซึ่งบางครั้งไม่สามารถสอนหรือถ่ายทอดให้คนอื่นเข้าใจได้ได้อย่างเต็มที่
http://www.slideshare.net/guanteen99/kmpongsak1-presentation
การเปลี่ยนแปลงสถานะของความรู้ SECI MODEL
(SECI Model)
https://www.l3nr.org/posts/543739
Socialization การแบ่งปันและสร้างความรู้ Tacit
know ไปสู่ Tacit knowledge
Externalization เป็นการสร้างและแบ่งปัน และเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
Combination เป็นการแบ่งปัน เก็บรวบรวมความรู้ใหม่ๆ
Internalization การนำความรู้ที่ได้ไปสู่ปฏิบิติจริง
และการเผยแพร่ให้ผู้อื่นรับรู้
ระดับของความรู้
Know-what เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง ก็คือ รู้อะไร รู้ว่ามันคืออะไร
Know-how ความรู้ที่เชื่อมโยงกับความเป็นจริง
ที่เราต้องรู้ว่าควรทำอย่างไรถึงจะได้ความรู้นั้นมา แล้วสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
Know-why เป็นความรู้เชิงเหตุผล
ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวเองให้ผู้อื่นได้และยังรับเอาความรู้ของผู้อื่นมาปรับใช้กับตนเองได้
อ้างอิง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)